ผมได้เขียนเรื่อง ‘Olympus OM-D E-M1 Mark III Menu Cheat Sheet’ ไว้เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2564 ที่ผ่านมานี้ เป็นโพยเมนูกล้องโพยเมนูกล้องโอลิมปัส OM-D E-EM1 Mark III สำหรับผู้ที่ใช้เมนูภาษาอังกฤษ ตอนนี้ถึงเวลาสำหรับผู้ที่ใช้เมนูภาษาไทยแล้ว ซึ่งโพยเมนูนี้ หรือที่เรียกว่า Cheat Sheet เป็นตารางสรุประบบเมนูของกล้อง E-M1 Mark III ซึ่งถือได้ว่า มันเป็นกล้องที่มีระบบเมนูสลับซับซ้อนมากที่สุดระบบหนึ่งก็ว่าได้ การจะค้นหาปรับแต่งกล้องในเรื่องของ feature ต่างๆ ก็ค้นหาได้ยากว่ามันจะอยู่ที่เมนูไหน ดังนั้น จึงเป็นที่มาของโพยเมนูกล้องนี้ ซึ่งในเมื่อมันเป็นเสมือนกระดาษโพย จึงไม่ได้อธิบายในรายละเอียด เพียงแค่ใช้ประโยชน์ในการค้นหา feature ที่ต้องการอย่างรวดเร็วว่ามันอยู่ตรงไหน เพื่อแยกข้อแตกต่างระหว่างเมนูต่างๆ ผมจะให้สีแต่ละเมนูแตกต่างกัน อันนี้ รวมถึงเมนูย่อยแต่ละเมนูด้วยเช่นกัน และถ้าดูผ่านโทรศัพท์มือถือ ขอแนะนำให้ดูหน้าจอในแนวนอน ซึ่งเหมาะกับการแสดงผลของข้อความในแต่ละแถวของตารางมากกว่า กล้องตัวนี้มีเมนูหลัก ประกอบด้วย 1. เมนูถ่ายภาพ 1 &…
Olympus OM-D E-M1 Mark III Menu System Cheat Sheet
I created the cheat sheet of the menu system of Olympus OM-D E-M1 Mark III camera. It’s unquestionable that the menu system of Olympus camera is one of the most complicated. It’s very difficult to find or customize each feature when…
Affinity Photo ในส่วนของ Photo Persona (ตอนที่ 2)
Affinity Photo ในส่วนของ Photo Persona (ตอนที่ 2) นี้ เป็นข้อเขียนต่อเนื่องมาจากข้อเขียนเรื่อง Affinity Photo ในส่วนของ Photo Persona (ตอนที่ 1) ซึ่งผมเขียนไว้เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2563 อนึ่ง ในระหว่างที่กำลังเขียนเรื่องนี้ใกล้จะจบแล้ว Affinity Photo 1.9 ออกมา ก็ขอไม่เขียนถึงเวอร์ชั่น 1.9 ในข้อเขียนนี้นะครับ ไม่งั้นมันต้องเพิ่มเนื้อหาเข้าไปอีกมาก และต้องใช้เวลามากเข้าไปอีกกว่าข้อเขียนจะออกมาได้ ซึ่งผมได้เขียนข้อเขียนนี้ไว้ในตอนที่ 1 ก็นานมากแล้ว Menu Bar Menu Bar บน Windows กับ Mac จะแตกต่างกันบ้างเล็กน้อยตรงการวางตำแหน่งของเมนูต่างๆ ผมขออธิบายไปตามเครื่อง Mac ที่ผมใช้ ดังภาพด้านล่าง – Affinity Photo Menu Affinity Photo Menu…
Affinity Photo ในส่วนของ Photo Persona (ตอนที่ 1)
หลังจากที่ได้เขียนเรื่อง Affinity Photo มา 2 บทแล้ว ซึ่งบทความหลังสุดเรื่อง “Affinity Photo ในส่วนของ Develop Persona”นั้น ถ้าผู้ที่เคยอ่านจำได้หรือกลับไปอ่านในส่วนนั้น ก็จะจำได้ว่า หลังจากที่เราคลิกปุ่ม Develop แล้ว โปรแกรมก็จะเข้าสู่ Photo Persona ทันที เช่นเดียวกับกรณีที่เราเปิดไฟล์อื่นที่ไม่ใช่ไฟล์ Raw โปรแกรมก็จะเข้าสู่ Photo Persona เช่นเดียวกัน ซึ่งการเข้าไปสู่ Photo Persona หลังจากผ่านขั้นตอนของ Develop Persona ก็เท่ากับว่าไฟล์ถูกบันทึกไว้เป็นฟอร์แมต afphoto เรียบร้อยแล้ว ก่อนเข้ารายละเอียดของ Photo Personal ขอเรียนเพิ่มเติมนิดว่า บทความนี้ผมเน้นไปที่มือใหม่หัดใช้โปรแกรมให้รู้จักเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ของโปรแกรม วิธีการเขียนในส่วนของ Photo Persona จะคล้ายกับในบทความก่อนหน้านี้ในส่วนของ Develop Persona ที่กล่าวถึงเครื่องมือและเมนูต่างๆ แบบเรียงลำดับไป กล่าวคือ จะอธิบายใน 5 ส่วนหลักๆ คือ…
Nik Collection 3: Worth the upgrade?
DxO has released the new Nik Collection 3 since the beginning June 2020. There are many reviews of the new Nik Collection 3 that is easy to find them on the internet. My writing is not a review of Nik Collection 3. I’m the current user of Nik Collection 2. The question is whether…
Affinity Photo ในส่วนของ Develop Persona
ผมเขียนเรื่อง “มารู้จักกับ Affinity Photo” ไว้เมื่อเดือนมกราคม 2563 ที่ผ่านมา เป็นข้อเขียนที่แนะนำให้รู้จักโปรแกรม Affinity Photo อย่างคร่าวๆ โดยเน้นไปที่ User Interface ต่างๆ พอเป็นสังเขป ไม่ได้ลงลึกอะไรมากนัก และมีคนเข้าไปอ่านพอสมควร ตอนแรกคิดว่าไม่น่าจะมีคนอ่านเรื่องนี้เท่าไหร่ คิดว่าคนคงใช้โปรแกรมตัวนี้น้อยมาก แต่เช็คยอดผู้อ่านแล้วมีคนเข้าไปอ่านมากพอสมควร ก็เลยเห็นภาพว่าโปรแกรมตัวนี้ (ซึ่งมีการทำงานคล้ายคลึงกับ Photoshop) เร่ิมมีคนไทยใช้มากขึ้นทุกวัน ผมก็เลยคิดว่า จะเขียนเรื่องนี้เพิ่มเติม โดยเน้นไปในส่วนของ Develop Persona ส่วน Persona อื่นๆ คิดไว้ว่าหากมี mood เมื่อใด ก็จะทยอยเขียนไปเรื่อยๆ ผมก็ยังคงย้ำแนวคิดเดิมตามที่เคยเขียนไว้ในตอนแรกกว่า เป็นการเขียนในลักษณะแนะนำโปรแกรมว่ามันมี Feature ใช้งานอะไรได้บ้าง โดยเพิ่มการอธิบายถึงเครื่องมือและ Panel ต่างๆ ของ Develop Persona แต่จะไม่มีการเขียนแบบว่า นำตัวอย่างภาพมาแสดงให้เห็นว่าจะปรับแต่งตรงไหนบ้าง อย่างไรบ้าง ดึง curve อย่างไร อะไรทำนองนี้ อนึ่ง…
ACDSee Photo Studio for Mac 6 Review
After ACDSee released ACDSee Photo Studio for Mac 6 a couple of months ago, there are only few reviews of this software. As a user of ACDSee Photo Studio for Mac, I think my review may be useful for the readers who are interested in this application. I ever wrote the article about Photo Studio…
มารู้จักกับ Affinity Photo
ในวงการตกแต่งภาพหรือวงการถ่ายภาพ โปรแกรมที่มีชื่อเสียงและได้รับความนิยมมากที่สุด ก็ไม่พ้น Adobe Lightroom และ Adobe Photoshop ส่วนโปรแกรมตัวอื่นๆ ก็สอดแทรกขึ้นมาได้ยากเพราะ Adobe เขาครองตลาดมายาวนานแล้ว แต่มันไม่ได้หมายความว่า โปรแกรมอื่นๆ มันจะไม่ดีไม่ยอดเยี่ยมเท่ากับเจ้าตลาด ซึ่งโปรแกรมเจ้าอื่นๆ มีทั้งที่มีความสามารถยอดเยี่ยมอยู่มาก เพียงแต่ผู้ใช้อาจไม่รู้จัก ไม่คุ้นเคย และไม่อยากจะเปลี่ยนไปใช้โปรแกรมตัวอื่นจากโปรแกรมที่ตัวเองคุ้นเคยอยู่แล้ว และไม่อยากจะเริ่มต้นเรียนรู้โปรแกรมใหม่ๆ แต่ปัจจุบันผู้ใช้บางคนก็เริ่มหาโปรแกรมตัวอื่นๆ เข้ามาแทนที่กันบ้างแล้ว โดยเฉพาะหลังจากที่ Adobe ได้เปลี่ยนระบบการซื้อขายโปรแกรมมาเป็นระบบ subscription หรือการเช่าโปรแกรม โดยใช้กลยุทธชูราคาต่ำที่ผู้ใช้มีกำลังซื้อหามาใช้ได้ อย่างเช่น Photography Plan ของ Adobe สามารถใช้โปรแกรม Photoshop + Lightroom + Cloud Storage 20GB ในราคาเริ่มต้นขั้นต่ำเดือนละ 356 บาท ซึ่งก็ไม่ต่างจากราคาค่าใช้โทรศัพท์มือถือหรือถูกกว่าด้วยซ้ำ ซึ่งทำให้ปริมาณผู้ใช้ซอฟแวร์เถื่อนลดลง เพราะราคาซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์มีราคาลดลง ซึ่ง Adobe เองก็มีผลประกอบการสูงขึ้นมากมายจากการใช้ระบบ subcription เรียกว่าไม่ต้องจ่ายเงินค่าซื้อโปรแกรม Adobe ครั้งละเป็นหมื่นๆ บาท อย่างไรก็ดี…
The DAM Solution – Adobe Lightroom Alternatives
If you are looking for a Lightroom alternative which offers organizing feature for image and video files but without the monthly subscription, In this article I propose 2 applications for consideration. I will concentrate on organizing features or a DAM (Digital Asset Management) feature, not image editor which is easy to find from various applications….